คอร์ส คู่มือจัดซื้อจัดจ้าง-Purchasing Manual

รหัสสินค้า : TYP-01

ราคา

35,555.00 ฿


45,555.00 ฿

 (-22%)
จำนวนที่จะซื้อ
ราคารวม 35,555.00 ฿

สินค้าไม่เพียงพอ

สินค้าหมด

คอร์ส คู่มือจัดซื้อจัดจ้าง- Purchasing Manual 

คอร์สนี้เป็น Master Course มันคือที่สุดแล้วสำหรับการทำจัดซื้อจัดจ้าง

ทั้งปฏิบัติ บริหาร วางแผน วางกลยุทธ์ วัดผล ติดตาม นำเสนอ รายงาน KPI Cost Saving โฟลว์ ฟอร์ม และอีกหลายเรื่อง


คอร์สนี้สำหรับ ผู้บริหาร ผู้จัดการ หรือคนที่กำลังจะก้าวขึ้นเป็นหัวหน้า


ครูการันตีไม่มีใครสอนได้แบบนี้อีกแล้ว ครบถ้วนทุกขบวนความในการทำจัดซื้อจัดจ้าง

คุณจะสามารถมองในมุมผู้บริหารได้ (Top View) และมองในมุมของลูกน้องได้ด้วยเช่นกัน

 

ครูทำหน้าที่นี้มากว่า 20 ปี ประสบการณ์ทั้งหมดครูใส่ไว้ในนี้ ครูย่นระยะเวลาความสำเร็จมาให้คุณเรียบร้อย

ตอนที่ครูลงไปเล่นเองมันก็มีทั้งน้ำและเนื้อ ดังนั้นในคอร์สนี้ครูคัดเอาเฉพาะที่ใช้ได้จริงออกมาให้คุณ


ยิ่งคุณมีพื้นมาแล้วยิ่งเหมาะ เพราะมันมีหลายส่วนที่อัพเดทใหม่ ทั้ง รายงาน การตั้ง KPI และการทำเนื้อหางานให้มันสอดคล้องกับ พรบ.คุ้มครองส่วนบุคคล (PDPA) ฯลฯ


แต่ถ้าคุณไม่มีพื้นมาเลยไม่ต้องกังวล เพราะครูสอนเข้าใจง่าย เห็นภาพชัด คอร์สครูทำมาให้คุณเรียนซ้ำๆ ได้ตลอดชีพ คุณจงเข้ามาฟังบ่อยๆ แล้วคุณจะเหมือนได้ทำในหน้าที่นี้จริงๆ


รายละเอียดในคอร์ส มันเยอะหน่อยแต่ว่าเรียนง่าย สนุก ครูต้องการให้คุณได้ไปให้ครบกับการทำจัดซื้อจัดจ้าง

ไม่ว่าคุณจะเรียกแผนกนี้ว่า Procurement, Sourcing, Purchasing เนื้อหามันครอบคลุม

สิ่งที่คุณจะได้จากคอร์สนี้คือ

1.       คุณจะรู้วิธีวางระบบที่เป็นสากลในงานจัดซื้อ ไม่ว่าจะเอาไปจับคู่กับระบบ ISO หรือจะเตรียมตัวเข้าตลาดหลักทรัพย์

2.       คุณจะรู้ถึงกระบวนการซื้อที่เป็นสากลทั้งระบบ

3.       คุณจะรู้ถึงเส้นทางเดินเอกสารและหน้าที่ของแต่ละฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

4.       คุณจะรู้ถึงวิธีบริหารงานและวางกลุยุทธ์ในจัดซื้อ เช่น การบริหารซัพพลายเออร์ จัดกลุ่มสินค้ากลุ่ม จัดกลุ่มซัพพลายเออร์เพื่อดูถึงผลกระทบ

5.       คุณจะวางแผนการซื้อเป็น Purchasing plan

6.       คุณจะวิเคราะห์การซื้อเพื่อกำหนดเทคนิคการซื้อได้

7.       คุณจะรู้เทคนิคการซื้อหลาย ๆ รูปแบบ

8.       คุณจะประหยัดต้นทุน, การลดต้นทุน และการหลบหลีกต้นทุนในจัดซื้อได้ Cost Saving

9.       คุณจะจัดทำแผนงานประจำปี เพื่อการนำเสนอได้

10.  คุณจะจัดทำงบประมาณประจำปีของแผนกเพื่อวางกลยุทธ์ให้กับบริษัทได้

11.  คุณจะรู้ถึงการทำรายงานของจัดซื้อเพื่อการนำเสนอได้

12.  คุณจะรู้เครื่องมือบริหาร และการทำกลยุทธ์ Procurement strategy

13.  คุณจะวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการบริหารเป็น เช่น วิเคราะห์แบบ Pareto Analysis, ABC Analysis, Relationship Spectrum, Balanced Scorecard, Supplier Preferencing Model and Supplier Positioning model

14.  คุณจะรู้ถึงการจัดหาซัพพลายเออร์ในแหล่งใหม่ นอกเหนือจาก Google

15.  คุณจะรู้ถึงการเปรียบเทียบราคา ว่าจะต้องดูเรื่องอะไรประกอบบ้าง

16.  คุณจะรู้ถึงวิธีคำนวณดอกเบี้ยของซัพพลายเออร์ในกรณีเขาเสนอเป็นเครดิต

17.  คุณจะรู้ฐานราคาในการเอาไปต่อรอง

18.  คุณจะเข้าใจหลักการเปรียบเทียบราคา แบบ TCO (Total Cost of Ownership -ต้นทุนรวมในการเป็นเจ้าของ) และ LCC (Life Cycle Cost-ต้นทุนตลอดอายุการใช้งาน)

19.  คุณจะได้ตารางเปรียบเทียบราคาจริง ไปใช้งาน ทั้งการสั่งซื้อ การสั่งจ้าง

20.  คุณจะเช็คความน่าเชื่อถือของซัพพลายเออร์ได้ ดูจะรู้ว่าเขาสมควรไหมที่จะโอนเงินให้ก่อน หรือห้ามซื้อ

21.  คุณจะเช็คงบการเงินเป็นสำหรับการประเมิน เช่น งบแสดงฐานะทางการเงิน งบกำไรขาด รายได้หลัก ลูกหนี้ทางการค้า สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม ซึ่งคุณไม่จำเป็น ต้องโทรไปขอซัพลายเออร์ให้วุ่นวาย ครูจะพาคุณไปเช็คในกรมพัฒนาธุรกิจการค้า

22.  คุณประเมินผู้ขายเป็นและจะสามารถทำ Approved vender list ได้

23.  คุณจะประเมินผลงานซัพพลายเออร์ประจำปีได้ Evaluation Supplier

24.  คุณจะสามารถทำ Flowchart ขั้นตอนการทำงานและความเกี่ยวข้องในแต่ละแผนกได้

25.  คุณจะสามารถทำ Job description ของทุกตำแหน่งได้

26.  คุณจะทำ Forms ที่เกี่ยวข้องทั้งหมดในจัดซื้อได้ และทุกโฟลว์ทุกฟอร์มคุณจะได้ของจริงไปใช้งาน

27.  คุณจะรู้วิธีกำหนดหัวข้อ KPI การจัดทำเกณฑ์

28.  คุณจะรู้ถึงวิธี วัดผล KPI ทั้งระดับบุคคลและระดับแผนก

29.  คุณจะเชื่อมโยงกลยุทธ์บริษัทไปสู่ KPI ในระดับต่างๆ ได้

30.  คุณจะรู้ถึงการวางแผนเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ KPI

31.  คุณจะทำ Action plan นำเสนอได้ในกรณี KPI ไม่ผ่านเกณฑ์

32.  คุณจะรู้ถึงการเก็บข้อมูลในการวัดผล KPI ในทุกระดับ

33.  คุณจะสามารถอธิบายภาพรวม KPI เพื่อการนำเสนอได้

34.  คุณจะบริหารความเสี่ยงในแผนกจัดซื้อได้ ไม่ว่าจะกำจัด แก้ไข Maintain และการทำรายเข้าที่ประชุม

35.  คุณจะรู้วิธีการไปตรวจสอบซัพพลายเออร์ Audit Supplier

36.  คุณจะกำหนดวงเงินอนุมัติการซื้อได้

37.  คุณจะรู้วิธีป้องการผู้รับเหมาทิ้งงาน

38.  คุณจะได้รู้ถึงบทบาทของคนทำจัดซื้อ

39.  คุณจะรู้หลักจรรยบรรณของการจัดซื้อ

40. คุณจะรู้วิธีเขียนนโยบายการซื้อ

และอีกหลายเรื่องที่ครูสอนอยู่ในคอร์สเรียน



อันนี้เป็นเนื้อหาคร่าว ๆ ที่ครูสอนมีดังนี้


1. ภาพรวมของการทำจัดซื้อ

1.1 เส้นทางเดินเอกสารและหน้าที่ของแต่ละฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

1.2 Input: ก่อนการสั่งซื้อสิ่งที่ต้องลงมือทำดังนี้

- ฟอร์มทั้งหมดในจัดซื้อ Form of Purchase

- จัดกลุ่มสินค้า, จัดหมวดสินค้า คุณต้องรู้จักสินค้าที่ซื้อทุกตัว-Group/categorize products

- ตั้งรหัสสินค้า เพื่อง่ายๆ ต่อการเรียกใช้งาน - Set Material Code

- วิธีหาซัพพลายเออร์เพื่อซื้อ แล้วจัดตั้งรหัสผู้ขาย - Searching Supplier and Set Supplier Code

- จัดหาระยะเวลาการส่งของเพื่อส่งต่อไปทำแผนการซื้อ - Lead-time

- วิธีหาราคาไว้กับทุกตัวสินค้า เพื่อง่ายต่อการทำต้นทุน - Price of each product

- วิธีคิดคำนวณต้นทุนก่อนการขาย จัดซื้อร่วมทำต้นทุนกับฝ่ายขาย - Cost of Sales

- การร่วมประชุมเพื่อกระจายงานให้กับทีม - Kick of Meeting

- วิธีจัดทำแผนการซื้อ - Purchase plan

1.3 Process: ระหว่างการทำ สิ่งที่ต้องปฏิบัติดังนี้

- การได้รับมาซึ่ง PR

- การหาซัพพลายเออร์ในระบบนอกระบบเพื่อซัพพอทการซื้อ - Find and Checking Supplier in system

- การได้มาซึ่งใบเสนอราคาและเปรียบเทียบ - Compare Prices

- การประเมินผู้ขายรายใหม่ดูความน่าเชื่อถือ - New supplier evaluation

- การออกใบสั่งซื้อ - Issue PO

- การอนุมัติใบสั่งซื้อพร้อมลงนาม พร้อมเช็คอำนาจการอนุมัติ Approved PO

- การส่งใบสั่งซื้อที่ถูกต้อง - Sending PO to Supplier

- ตามยืนยันคำสั่งซื้อ - Order confirmation

- การตามสินค้าเพื่อให้ส่งตรงกำหนด - Follow Delivery

- การรับสินค้ารวมถึงบิลส่งของจากซัพฯ

1.4 Output: หลังการสั่งซื้อ สิ่งที่ต้องทำดังต่อไปนี้

- การทำเคลมสินค้าหากมีเหตุ - Claim

- การเช็ค PR ค้างสั่งที่จัดซื้ออาจลืมเอาไปเปิดเป็นใบสั่งซื้อ - Checking pending PR

- การเช็คสินค้าค้างส่ง - Checking pending PO

- การเก็บประวัติราคาที่เคยซื้อ - Keep price history

- การทำรายงานและการนำเสนอ - Reports and Present

- การวัดผลงานแผนกและตัวบุคคคล - KPI

- การประเมินผู้ขายประจำปี - Evaluate supplier performance

- การไปตรวจสอบผู้ขาย - Audit Supplier

- การบริหารซัพพลายเออร์ สานสัมพันธ์ ดูว่าซัพพลายเออร์เจ้าไหนมีผลกระทบต่อกำไรบริษัทบ้าง และการวางกลยุทธ์ - Supplier Relationship Management

- การวางกลยุทธ์ในจัดซื้อ - Procurement strategy

- บริหารความเสี่ยงในแผนกจัดซื้อ มีเรื่องอะไรที่จะสร้างความเสียหายให้บริษัทบ้าง - Risk Management

- การจัดเก็บแคตาล๊อค

- การทบทวนเอกสารของแผนกเตรียมพร้อมเพื่อการตรวจสอบ

เจาะลึกแต่ละเรื่อง

2. 19 ฟอร์มสำคัญของจัดซื้อที่ทำให้งานเป็นระบบ ง่ายต่อการตรวจสอบ

คุณจะรู้ทั้งวิธีคิด

วิธีใช้งาน

วิธีวัดผล

วิธีคำนวน

วิธีนำเสนอ

และที่สำคัญคุณจะได้ของจริงไปใช้งาน


ทุกฟอร์มที่ทำขึ้นนั้นที่สำคัญอย่างยิ่งคือ ทำให้คนทำงาน ทำงานง่ายและรวดเร็วขึ้น

2.1 คู่มือทำงาน ทั้งวิธีปฏิบัติและระเบียบปฏิบัติ-Procedure Manual and Work instruction

2.2 ใบขอซื้อ-PR

2.3 ใบสั่งซื้อและสั่งจ้าง-PO

2.4 เอกสารแนบท้ายใบสั่งซื้อ-General Condition of Purchase and Agreement Contact

2.5 นโยบายการซื้อ

2.6 ใบตอบรับคำสั่งซื้อ และระเบียบและข้อกำหนดของบริษัท

2.7 สัญญาสั่งซื้อ-สัญญาสั่งจ้าง-Contract

2.8 ประเมินผู้ขายรายใหม่-New Supplier Approved form

2.9 ประเมินผลงานซัพพลายเออร์-Evaluation Supplier

2.10 การเคลม-Defect Report

2.11 ตรวจเยี่ยมซัพพลายเออร์-Audit Supplier Form

2.12 Work Flow

2.13 Job Description

2.14 ใบส่งมอบงาน สำหรับงานบริการ ซ่อมบำรุง ติดตั้ง ผู้รับเหมา

2.15 จดหมายเวียดภายในบริษัท

2.16 ใบส่งของ-Delivery Noted

2.17 ตารางอำนาจการดำเนินการ (อนุมัติ)-Letter of Agreements (LOA)

2.18 Memo ใบเพื่อขอแก้ไขใบสั่งซื้อ

2.19 และอีกหลายฟอร์มที่เกี่ยวกับการ Control document ในแผนก

3. ส่งที่คุณต้องทำและเตรียมตัวก่อนการสั่งซื้อ

3.1 การจัดประเภท จัดกลุ่มสินค้า ดูว่าอันไหนเป็นวัตถุดิบหลัก วัตถุดิบรอง

3.2 การใช้เครื่องมือ Pareto 80/20 และ ABC Analysis ให้รู้ว่าสินค้ากลุ่มไหนสำคัญมากสำคัญน้อย

3.3 การตั้งรหัสสินค้า เพื่อง่ายๆ ต่อการเรียกใช้งาน

3.4 การหาซัพพลายเออร์และจัดตั้งรหัสผู้ขาย

3.5 การจับแมทซัพลายเออร์เข้ากับสินค้าที่ซื้อ เพื่อง่ายต่อการหยิบใช้

3.6 การจัดทำระยะเวลาการส่งของ ของสินค้าทุกตัว

3.7 การทำราคาแต่ละตัวสินค้าที่ซื้อเพื่อง่ายต่อการทำต้นทุน

3.8 การคิดคำนวณต้นทุน ก่อนการไปขายงานร่วมกับฝ่ายขายของบริษัท

3.9 วิธีกระจายงานให้กับทีมงาน

3.10 วิธีทำแผนการซื้อ

4. Flowchart ขั้นตอนการทำงานและความเกี่ยวข้อง

4.1 User ผู้ใช้งาน

4.1 Purchase จัดซื้อ

4.2 Supplier ซัพพลายเออร์

4.3 ความเกี่ยวข้องกัน


5. ขบวนการระหว่างการสั่งซื้อ

5.1 การได้มาซึ่ง PR

5.2 การหาซัพพลายเออร์เพื่อซื้อในระบบ นอกระบบ

5.3 การเปรียบเทียบราคาก่อนซื้อ การทำตารางเพื่อนำเสนอ วิธีดูอันไหนเราได้ประโยช์นสูงสุด

5.4 การประเมินผู้ขายรายใหม่ วิธีดูความน่าเชื่อถือ ดูงบ ขอเอกสาร วิธีคำนวณผลผ่านไม่ผ่าน

5.5 การออก PO การนำเสนอเพื่อการอนุมัติ

5.6 การส่งใบสั่งซื้อหาซัพลายเออร์ที่ทำให้ PO นี้เป็นเหมือนสัญญาซื้อขายในทางกฎหมายไทย

5.7 การยืนยันคำสั่งซื้อ ที่ซัพลายเออร์ไม่สามารถปฏิเสธ Order นี้ได้

5.8 วิธีตามสินค้าให้ส่งตรงกำหนด

5.9 การตรวจรับสินค้าเข้าระบบ

5.10 การทำเคลมสินค้าถ้ามี

6. ขบวนการหลังการสั่งซื้อ

6.1 การเช็ค PR ค้างสั่ง ใบขอซื้อที่จัดซื้ออาจจะหลุดเอาไปเปิดใบสั่งซื้อ

6.2 การเช็ค PO ค้างส่ง เพื่อไม่ให้มี PO ค้างนาน

6.3 การเก็บประวัติราคาที่เคยซื้อ เพื่อง่ายต่อการเอาไปต่อรอง

6.4 การทำรายงาน

6.5 การวัดผลงาน- KPI

6.6 การประเมินผลงานซัพพลายเออร์

6.7 การไปตรวจสอบซัพลายเออร์

6.8 การบริหารซัพลายเออร์ การวางแผน

6.9 การทำกลยุทธ์ในแผนก

6.10 การบริหารความเสี่ยงในแผนกจัดซื้อ

6.11 การเก็บแคตตาล็อกของผู้ขาย

7. รายงานสำคัญในจัดซื้อ พร้อมด้วยการนำเสนอ

7.1 รายงานประวัติการซื้อ ที่มองในมุมความถี่ของการเปิดพีโอ

7.2 รายงานมองยอดซื้อที่เป็น Top 10 or Top 20

7.3 รายงานที่มองในมุมซัพลายเออร์ที่เขามองเข้ามาในบริษัทเรา นั้นก็เพื่อเอาไปต่อยอดในการสานสัมพันธ์กับเขา เพื่อการทำ Cost saving ที่ตอบโจทย์

7.4 รายงานการซื้อแบบแยก Material

7.5 รายงานการซื้อ+รับ+ยกเลิก

7.6 ราบงานพีโอค้างส่ง Remaining PO

7.7 รายงานการซื้อแยกแต่ละโครงการ แยกแต่ละแผนก

7.8 รายงานการควบคุม Cost (Purchase-Cost)

7.9 รายงานการปรับเครดิตและนำเสนอผู้ขายรายใหม่

7.10 รายงานการควบคุมใบอนุญาตต่างๆ ในแผนกจัดซื้อ

7.11 รายงานการเก็บประวัติผลงานลูกน้อง

7.12 รายงานการทำ Cost Saving

7.13 รายงานการใช้งบประมาณต่อปีของแผนก

7.14 วิธีการนำเสนอและการพรีเซนต์

8. วิธีวัดผลคนทำงานและวัดผลแผนก การตั้งหัวข้อ การคำนวณ - KPI

8.1 ทำความเข้าใจกับ KPI ที่ใช้วัดผล

8.2 ประเภทของการชี้วัดความสำเร็จ

8.3 วิธีการกำหนด KPI

8.4 การเชื่อมโยงกลยุทธ์บริษัทสู่ KPI ในระดับต่างๆ

8.5 วิธีตั้ง หัวข้อ KPI พร้อมตั้วอย่าง

8.6 วิธีคำนวณผลคะแนน KPI

8.7 แบบฟอร์ม KPI

8.8 ภาพรวมการจัดทำ KPI

9. วิธีบริหารความเสี่ยง - Risk Management

9.1 ความหมายและความสำคัญของการบริหารความเสี่ยงในธุรกิจ

9.2 บทบาทหน้าที่ในการบริหารความเสี่ยง

9.3 ประเภทความเสี่ยง และความไม่แน่นอน

9.4 การระบุความเสี่ยง

9.5 การประเมินความเสี่ยงการกำหนดรูปแบบการจัดการความเสี่ยง

9.6 การจัดลำดับความเสี่ยงเพื่อการบริหารจัดการ

9.7 การจัดทำแผนปฏิบัติการความเสี่ยง

9.8 แนวทางการบริหารความเสี่ยง เครื่องมือที่ใช้ แบบฟอร์มที่เกี่ยวข้อง ที่นำมาใช้ในการบริหารความเสี่ยง

9.9 ตัวอย่างหัวข้อความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น

9.10 วิธีกำจัดข้อความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นนั้น

9.11 วิธีคิดคำนวณผล และเปรียบเทียบตารางสกอร์ผล

9.12 การจัดทำรายงานความเสี่ยงและการควบคุมภายใน

10. วิธีใช้เครื่องมือบริหารงานเพื่อการวางกลยุทธ์ในจัดซื้อ

10.1 ทำความเข้าใจ Supplier Positioning model พร้อมแนวทางการนำไปปฎิบัติได้จริง

10.2 ทำความเข้าใจ Supplier Preferencing Model พร้อมแนวทางการนำไปปฏิบัติได้จริง

10.3 วิธีทำ Pareto Analysis ในงานจัดซื้อ

10.4 วิธีทำ ABC Analysis ในการจัดลำดับสินค้า

10.5 ทำความเข้าใจ Relationship Spectrum (ระดับความสัมพันธ์) และแนวทางในการนำปฏิบัติ

10.6 ทำความเข้าใจ Balanced Scorecard พร้อมแนวทางการนำไปปฎิบัติได้จริง

11. วิธีทำ Job Description ของทุกระดับการทำงาน

11.1 ตัวอย่างและหัวข้องานที่ต้องรับผิดชอบของ รับดับผู้จัดการ Manager

11.2 ตัวอย่างและหัวข้องานที่ต้องรับผิดชอบของ ระดับผู้ช่วยผู้จัดการ Assist Manager

11.3 ตัวอย่างและหัวข้องานที่ต้องรับผิดชอบของ ระดับหัวหน้างาน Supervisor

11.4 ตัวอย่างและหัวข้องานที่ต้องรับผิดชอบของ ระดับอาวุโส Senior

11.5 ตัวอย่างและหัวข้องานที่ต้องรับผิดชอบของ ระดับปฏิบัติการ

12. วิธีทำสัญญาสั่งซื้อ-สั่งจ้าง และทำความเข้าใจทุกหัวข้อในสัญญาเพราะมันเกี่ยวข้องกับกฎหมาย

12.1 หัวข้อที่สำคัญและต้องมีในสัญญา

12.2 อำนาจและหน้าที่ตามกฎหมายของนักจัดซื้อ

12.3 ความผูกพันของใบสั่งซื้อและใบเสนอราคา

12.4 การกำหนดค่าปรับที่สอดคล้องตามกฎหมาย

12.5 หน้าที่และความรับผิดของผู้ซื้อผู้ขาย

12.6 กำหนดเวลาแล้วเสร็จและสิทธิ์ของผู้ว่าจ้างในการบอกเลิกสัญญา

12.7 การขอขยายเวลาการส่งมอบที่ผู้ซื้อสามารถทำได้

12.8 การบอกเลิกสัญญา

12.9 การฟ้องร้อง

12.10 ตัวอย่างหัวข้อและฟอร์มสัญญาซื้อขายและสั่งจ้าง

13. หัวใจของการทำจัดซื้อ

14. วิธีไปตรวจสอบผู้ขาย Audit Supplier การส่งจดหมายแจ้ง การตั้งหัวข้อ การประเมิน การคำนวณผล

14.1 วัตถุประสงค์ของการไป Audit ถ้าไม่ไปมันจะมีผลกระทบอะไรกับเรา

14.2 วิธีทำจดหมายแจ้งซัพพลายเออร์ ก่อนเข้าไป Audit พร้อมตัวอย่าง

14.3 วิธีกำหนดหัวข้อข้อเพื่อการ Audit พร้อมตัวอย่าง

14.4 วิธีคิดผลและการแนะนำซัพพลายเออร์เมื่อเขาไม่ผ่านการ Audit

15. การทำ Cost Saving

15.1 ทำความเข้าใจ Cost ที่เกี่ยวข้อง

15.2 ทำความเข้าใจต้นทุนรวมของตัวสินค้า (Total cost of ownership-TCO)

15.3 ทำความเข้าใจต้นทุนตลอดอายุการใช้งาน (Life Cycle Cost -LCC)

15.4 องค์ประกอบความสำเร็จในการทำ Cost Saving

15.5 13 เรื่องที่เกี่ยวกับการทำ Cost Saving ให้ได้ประโยชน์สูงสุด

15.6 การสานสัมพันธ์กับซัพพลายเออร์ที่ถูกเจ้า

15.7 การทำเครื่องมือบริหารในหัวข้อที่ 10 มาวางแผนในการทำ Cost saving

15.8 รายงานการควบคุม Cost saving

15.9 วิธีนำเสนอผลงานที่เป็น Cost saving

16. เทคนิคการซื้อ

16.1 วิธีเจรจาตกลง

16.2 Tender

16.3 Bidding

16.4 E-Bidding

16.5 E-Auction

16.6 Blanket Order

16.7 Call-off contract

16.8 Fixed contract

16.9 Systems Contracting &Stockless Purchase

16.10 Consignment

16.11 Just in Time

16.12 Purchasing Card

16.13 Online Purchasing

16.14 วิธีกำหนดวงเงินซื้อ

16.15 Balance supplier

16.16 Dual Source

16.17 Single Source

17. วิธีเช็คความน่าเชื่อถือผู้ขายรายใหม่ที่ตอบโจทย์ในยุคนี้

17.1 พาเขาดูเว็บไซต์ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ดูภาพรวมของบริษัทนั้น ดูทุนจดทะเบียน ดูปีที่เปิด ดูการส่งงบ ดูงบกำไรขาดทุน ดูสินทรัพย์รวม หนี้สิ้นรวม ดูลูกหนี้ทางการค้า ดูรายได้หลัก

18. วิธีป้องกันการโดนโกงกับ ผู้รับเหมา ผู้รับติดตั้ง ผู้รับจ้างทำของ รวมไปถึงการแบ่งชำระการจ่ายเงิน และทำความรู้จักกับ

18.1 Bank Guarantee

18.2 Performance Bond

18.3 Warranty Bond

18.4 Retention (หักเงินประกันผลงาน)

18.5 Site Mobilization

18.6 วิธีกำหนดการชำระเงิน ไม่ว่าจะซื้อของ ของแรง ผู้รับเหมา ติดตั้ง ฯลฯ

18.7 วิธีนำไปใช้ง่ายๆ ในแต่ละตัว

19. วิธีกำหนดวงเงินอนุมัติการซื้อ ในแต่ละระดับบริหาร (Approval Limit)

19.1 ตัวอย่างฟอร์มที่คุณเอาไปต่อยอดได้เลย

19.2 ทำความเข้าใจความหมายในการกำหนดการอนุมัติ

19.3 ความหมายตัวย่อที่ใช้ในตาราง

19.4 วิธีกำหนดหัวข้อกำหนดวงเงิน วิธีระบุผู้มีอำนาจ

19.5 แนะนำวิธีใช้และดูง่ายๆ ในการอนุมัติแต่ละตำแหน่ง

20. โบนัส

เช่น ฟอร์มเพิ่มเติม

เป็นคอร์สเรียนออนไลน์ เรียนผ่านเฟสบุ๊คกลุ่มลับ ครูลงบทเรียนเป็นคลิปวีดีโอลงไว้แต่ละบท

มีทำสารบัญให้กดเข้าไปเรียนแบบง่ายๆ เรียนตอนไหนเวลาไหนได้ดีหมด คอร์สไม่มีวันหมดอายุ

มีเอกสารการเรียนการสอน ฟอร์มทุกตัว รายงานทั้งหมด ครูส่งให้ทางเมล์


มีใบ Certificate มอบให้เมื่อเรียนจบแล้ว

ลงทุนครั้งเดียว เรียนซ้ำได้ไม่จำกัด เรียนได้ตลอดชีพ ไม่เข้าใจจุดไหนจำไม่ได้เข้ามาทวนซ้ำ

สมัครเรียนทักไปที่

Inbox เพจเฟสบุ๊ก: จัดซื้อมือโปร by ครูธัญญ่า

หรือทักไปที่ไลน์ Line ID: @thanyapro


 

Visitors: 23,840