คอร์สจัดซื้อระหว่างประเทศและการนำเข้า
เป็นอีก 1 คอร์สที่เนื้อหาครบจบในที่เดียว
“ จัดซื้อระหว่างประเทศและการนำเข้า International Purchasing and Import ”
ครูตั้งใจทำสุดฝีมือ คติครูคือ สอนเข้าใจง่าย เห็นภาพชัด เอาไปใช้ได้จริง
คอร์ส อัพเกรดจัดซื้อต่างประเทศและการนำเข้า-ส่งออก - Upgrade International Purchasing and Import Export
ในคอร์สนี้ครูสอนครบทุกส่วนของการซื้อต่างประเทศและการนำเข้า
คุณเรียนคอร์ส์นี้ครบจบเลย แล้วครูยังสอนไปถึงการส่งออก ในเมื่อคนรู้นำเข้าแล้ว
การส่งออกไม่ได้ยาก แค่เปลี่ยนวิธีมอง ซึ่งเดี๋ยวครูจะสอนคุณ มันง่ายนิดเดียว
ครูรวบรวมเนื้อหาจากประสบการณ์ที่ได้ทำมากว่า 20 ปี และได้อัพเดทกฎต่างๆ
ให้เป็นปัจจุบัน เช่น ข้อตกลงทางการค้าระหว่างประเทศ Incoterm 2020 ดังนั้นเนื้อหาในคอร์สนี้เป็น Version ล่าสุด
ครูสอนตั้งแต่พื้นฐานไปจนถึงพื้นสูง เรียนได้ทั้งคนเก่าและคนใหม่
คนเก่ายิ่งสมควรเรียนเพราะในคอร์สนี้ ครูอัพเดทข้อมูลใหม่ทั้งหมด
ยิ่งคุณมีพื้นมาแล้ว คุณจะเอาไปต่อยอดได้อย่างง่ายๆ
แต่สำหรับคนที่ไม่มีพื้น ไม่ต้องกลัวว่าจะเรียนไม่รู้เรื่อง
ครูสอนชัดเจนมีตัวอย่างประกอบ
ครูเข้าใจว่าคนไม่มีพื้นมันจะกลัวไปหมด
ดังนั้นคอร์สนี้ครูทำมาตอบโจทย์ให้คุณฟังซ้ำๆ ได้ตลอดชีพ
คอร์สนี้เหมาะกับคนที่ต้องการจะไปทำจัดซื้อต่างประเทศ
เรียนผ่าน facebook กลุ่มลับส่วนตัว
มีเอกสารประกอบการเรียนแบบฟอร์มทุกตัวที่ต้องใช้
บทเรียนเป็นคลิปวีดีโอ ลงไว้แต่ละบท
มีใบ Certificate มอบให้ เมื่อเรียนจบแล้ว
ในคอร์สนี้มีครบทุกส่วนงานของการซื้อระหว่างประเทศและการนำเข้า คุณไม่ต้องโดนไปเรียนคอร์สโน้นนี้เสริมอีก
หลักสูตร:
อัพเกรดจัดซื้อต่างประเทศและการนำเข้าส่งออก
Upgrade
International Purchasing and Import
ในคอร์สนี้ครูสอนครบทุกส่วนของการซื้อต่างประเทศและการนำเข้า
คุณเรียนคอร์ส์นี้ครบจบเลย แล้วครูยังสอนไปถึงการส่งออก ในเมื่อคนรู้นำเข้าแล้ว
การส่งออกไม่ได้ยาก แค่เปลี่ยนวิธีมอง ซึ่งเดี๋ยวครูจะสอนคุณ มันง่ายนิดเดียว
ครูรวบรวมเนื้อหาจากประสบการณ์ที่ได้ทำมากว่า 20 ปี และได้อัพเดทกฎต่างๆ
ให้เป็นปัจจุบัน เช่น ข้อตกลงทางการค้าระหว่างประเทศ Incoterm 2020 ดังนั้นเนื้อหาในคอร์สนี้เป็น Version ล่าสุด
ครูสอนตั้งแต่พื้นฐานไปจนถึงพื้นสูง เรียนได้ทั้งคนเก่าและคนใหม่
คนเก่ายิ่งสมควรเรียนเพราะในคอร์สนี้ ครูอัพเดทข้อมูลใหม่ทั้งหมด
ยิ่งคุณมีพื้นมาแล้ว คุณจะเอาไปต่อยอดได้อย่างง่ายๆ
แต่สำหรับคนที่ไม่มีพื้น ไม่ต้องกลัวว่าจะเรียนไม่รู้เรื่อง
ครูสอนชัดเจนมีตัวอย่างประกอบ
ครูเข้าใจว่าคนไม่มีพื้นมันจะกลัวไปหมด
ดังนั้นคอร์สนี้ครูทำมาตอบโจทย์ให้คุณฟังซ้ำๆ ได้ตลอดชีพ
ครูจะเทรนคุณเริ่มตั้งแต่การคิดคำนวณต้นทุนก่อนการซื้อ
เช่น ค่า Freight (ค่าขนส่งระหว่างประเทศ) , Import
duty, Customs fee, Shipping charge และ Local charge ต่าง ๆ
สิ่งที่คุณจะได้จากการเรียนคอร์สนี้
1. โฟลว์การเชื่อมโยงการทำงานตั้งแต่การซื้อไปจนถึงการนำเข้า
2. วิธีคิดคำนวณค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง
3. เปรียบเทียบราคาค่า
Freight (ค่าขนส่งระหว่างประเทศ) เป็น
รู้ว่าอันไหนถูกแพงระหว่างน้ำหนักเท่านี้
4. ทำความเข้าใจกับค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่เกี่ยวกับการนำเข้า
5. วิเคราะห์ใบเสนอราคาของ
Forwarder (Courier, Airfreight, Sea freight) และ Shipping และสามารถคิดคำนวณราคาออกมาได้
6. วิธีเช็คสิทธิ์ลดหย่อนภาษี
เช็คพิกัด ในเว็บไซต์กรมศุลกากรเป็น และรู้วิธีการถามตอบกับเขา
7. รู้เกี่ยวกับข้อตกลงทางการค้าระหว่างประเทศ
(Incoterms 2020)
8. รู้เกี่ยวกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการซื้อต่างประเทศและการนำเข้า
9. รู้ถึงสิทธิประโยชน์ทางการค้าระหว่างประเทศ
10. รู้วิธีใช้สิทธิ์ลดหย่อนฟอร์มในแต่ละกลุ่มประเทศ
เช่น Form A, Form D, Form E, Form AI etc.
11. รู้วิธีใช้สิทธิพิเศษทางภาษีภายในประเทศ
12. รู้วิธีเช็คพิกัดอัตราศุลการกร
และรู้โครงการของมัน
13. เข้าใจเกี่ยวกับราคาศุลกากรทั้ง
6 รูปแบบ
14. รู้เกี่ยวรูปแบบการขนส่งระหว่างประเทศ Modes of Transportation
15. รู้วิธีใช้งานตู้คอนเทนเนอร์แต่ละประเภทและรู้ระบบการทำงานของตู้คอนเทนเนอร์
16. เข้าใจการทำประกันภัยการขนส่งสินค้า
(Marine Insurance)
17. รู้วิธีชำระเงินระหว่างประเทศ
4 รูปแบบ
18. รู้หัวใจของการซื้อระหว่างประเทศ
19. รู้วิธีการเก็บรายงานและการประมวลผลเพื่อการนำเสนอ
20. รู้โฟลว์การนำสินค้าเข้าประเทศ
เนื้อหาในคอร์สเรียน
1. 11 หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กับการซื้อต่างประเทศและการนำเข้าส่งออก
ที่คุณต้องทำความเข้าใจ
- Supplier
- Forwarder
- Vessel/Airline
- Shipping
- Port การท่า
- กรมกรมสรรพากร/กรมสรรพสามิต/ กระทรวงมหาดไทย
- Customs
กรมศุลกากร
- Truck รถขนส่ง
- บริษัทประกันภัยการขนส่ง
- Bank ธนาคาร
- Government Agency Concerned เช่น กรมโรงงาน
2. สิทธิพิเศษทางการค้าระหว่างประเทศ ภายใต้กรอบความตกลงเขตการค้าเสรี
ที่คุณต้องรู้
2.1
ความตกลง องค์การการค้าโลก : World
Trade Organization (WTO)
2.2 หอการค้านานาชาติ
: International Chamber of Commerce (ICC)
2.3 องค์การศุลกากรโลก
: World Customs Organization (WCO)
2.4 อาเซียนหรือสมาคมประชาชาติแห่งอาเซียนตะวันออกเฉียงใต้
: Association of Southeast Asian Nations (ASEAN)
2.5 ความตกลง
เขตการค้าเสรีอาเซียน : ASEAN
Free Trade Area (AFTA)
2.6
ความตกลง เขตการค้าเสรี : Free Trade Area
(FTA)
2.7
ความตกลง องค์การสหประชาชาติ : United
Nations
3. สิทธิประโยชน์ทางการค้าระหว่างประเทศ 3
รูปแบบที่คุณต้องรู้
ที่แต่ละกลุ่มประเทศประกาศให้สิทธิ์แก่กัน
3.1 การให้สิทธิ์
แบบ GSP
: Generalized System of Preference
3.2
การให้สิทธิ์แบบ GSTP
: Global System of Trade Preferences among Developing Countries
3.3
การให้สิทธิ์แบบ CEPT
: Common Effective Preferential Tariff
4.
สิทธิพิเศษทางภาษีและไม่ใช่ภาษี ตามมาตรการของศุลกากรไทย
6 สิทธิสำคัญที่คุณต้องเข้าใจ รวมถึงวิธีการเข้าไปใช้สิทธิ์
4.1
ทำความเข้าใจและการเข้าไปใช้สิทธิ์ :
สิทธิประโยชน์ BOI สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
(บีโอไอ)
4.2
ทำความเข้าใจและการเข้าไปใช้สิทธิ์ :
สิทธิประโยชน์ Free Zone
4.3
ทำความเข้าใจและการเข้าไปใช้สิทธิ์ :
สิทธิประโยชน์ Free trade Zone
4.4
ทำความเข้าใจและการเข้าไปใช้สิทธิ์ :
การคืนอากรตามมาตรา 29
4.5
ทำความเข้าใจและการเข้าไปใช้สิทธิ์ :
สิทธิประโยชน์ Bonded Warehouse
4.6
ทำความเข้าใจและการเข้าไปใช้สิทธิ์ :
การขอคืนภาษีอากรเมื่อมีการส่งของกลับคืน (Re-Export) หลักเกณฑ์และเงื่อนไข
ระยะเวลา และการผ่อนผัน
5. ทำความเข้าใจระบบพิกัดอัตราศุลการกร Harmonized
System (HS Code)
5.1
ทำความเข้าใจภาพรวมของพิกัดอัตราศุลการกร
5.2
ระบบพิกัด Harmonized System (HS Code) ในไทยและระดับนา
ๆ ประเทศ
5.3 โครงสร้างพิกัดที่ต้องทำความเข้าเพื่อที่จะได้นำไปใช้ได้อย่างถูกต้อง
5.4
หลักเกณฑ์การตีความพิกัดศุลกากร
5.5 เช็คสิทธิ์การลดหย่อนภาษีอากรตามข้อตกลงระหว่างประเทศ
FTA
5.6
วิธีตรวจสอบและเช็คพิกัดศุลกากรให้ใช้ได้อย่างถูกต้อง
5.7 ทำความเข้าใจกับภาษีทุ่มตลาด
6.
ระบบราคาแกตต์ (ราคาศุลกากร) และภาษีนำเข้า
6.1
ทำความเข้าใจราคาศุลกากรทั้ง 6 รูปแบบ
6.2
เรียนรู้วิธีที่กรมศุลกากรใช้เกณฑ์ในการประเมินราคาเพื่อป้องกันผู้ประกอบการลักไก่เรื่องภาษี
6.3 วิธีคำนวนราคาศุลกากรในแต่ละแบบ
6.4
ชนิดของภาษีที่จะได้เจอตอนนำเข้า
- Import duty ภาษีนี้จำเป็นต้องเสียไหม
ถ้าเสียมีสิทธิ์ลดหย่อนอะไรเปล่า
ไปค่ะไปเรียนรู้กัน
- ภาษีสรรพสามิต สินค้าอะไรที่จะเกิดภาษีนี้
- ภาษีเพื่อมหาดไทย สินค้าอะไรที่จะเกิดภาษีนี้
- ภาษีมูลค่าเพิ่ม
7.
ข้อตกลงทางการค้าระหว่างประเทศ Incoterms 2020
(จะเรียกว่า
เทอมการส่งของระหว่างประเทศก็ได้)
7.1 แผนภาพรวม
7.2
ทำความเข้าใจความหมายและการใช้งานที่ถูกต้องของแต่ละเทอม
-
ความหมายและการใช้งานของ Term EXW (Ex-Work)
- ความหมายและการใช้งานของ Term FCA
- ความหมายและการใช้งานของ Term FAS
(Free Alongside Ship)
- ความหมายและการใช้งานของ FOB (Free
On Board)
- ความหมายและการใช้งานของ CFR (Cost
and Freight)
- ความหมายและการใช้งานของ CIF (Cost
Insurance and Freight)
- ความหมายและการใช้งานของ CPT
(Carriage Paid to)
- ความหมายและการใช้งานของ CIP
(Carriage Insurance Paid to)
- ความหมายและการใช้งานของ DAP
(Delivered at place)
- ความหมายและการใช้งานของ DPU
(Delivered at Place Unloaded)
- ความหมายและการใช้งานของ DDP
(Delivered Duty Paid)
- Freight Prepaid VS Freight Collect ทั้ง 2 เรื่องนี้ มันเกี่ยวข้องอะไรกับ Incoterms
2020
7.3
แนวทางการเลือกใช้เทอมให้เหมาะสม
7.4
ภาระหน้าที่ของผู้ซื้อและผู้ขาย ทั้ง 11 เทอม ที่ต้องรับผิดชอบ
7.5
ค่าใช้จ่ายและความเสี่ยงที่สำคัญสุดในแต่ละข้อตกลง (เทอม)
7.6
การเจรจาต่อรองเพื่อลดค่าใช้จ่ายและลดความเสี่ยงของแต่ละเทอม
7.7
กฎระเบียบและภาระพิธีการศุลกากรที่เกี่ยวข้องกับ Incoterm 2020
7.8 บทสรุปส่งท้ายที่จะทำให้คุณเข้าใจ Incoterms 2020 ได้มากยิ่งขึ้น
8. รูปแบบการขนส่งระหว่างประเทศ Modes of Transportation
8.1 การขนส่งทางเรือและระบบตู้คอนเทนเนอร์
8.2 การบรรจุและขนถ่ายสินค้า
(Operations)
8.3 การขนส่งทางแอร์
รถบรรทุก รถไฟ ทางท่อ การส่งข้อมูล
8.4
การขนส่งทางคูเรียร์
8.5
การใช้รถหัวลากกับตู้คอนแทนเนอร์
8.6 สรุปการใช้งานง่ายๆ
ของทุกรูปแบบการขนส่ง
9. การประกันภัยขนส่งสินค้า
(Marine Insurance)
9.1 ความหมายของการประกันภัยการขนส่ง
9.2 ประเภทของการประกันภัย
9.3 รูปแบบการประกันภัย
9.4 ประเภทกรมธรรม์ประกันภัยการขนส่ง
9.5 ชุดเงื่อนไขความคุ้มครองของการประกันภัย
9.6 หลักการ วิธีการ ข้อระวังในการประกันภัยสินค้าระหว่างประเทศ
9.7 วิธีคิดคำนวณเบี้ยประกันภัย การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ
9.8 วิธีเลือกซื้อประกันภัยให้เหมาะกับการขนส่ง
9.9 ทำความเข้าใจ จุดเริ่มต้นและสิ้นสุดการคุ้มครอง
9.10 เอกสารที่จำเป็นสำหรับการซื้อกรมธรรม์ประกันภัย
9.11 ข้อแนะนำในการเรียกร้องเอาประกัน (สินไหมทดแทน)
9.12 หลักฐานในการเรียกร้องเอาประกัน (ค่าสินไหมทดแทน)
9.13 วิธีเก็บประวัติการเคลม (Report Claim for damaged
products to the supplier)
10. เอกสารและค่าใช้จ่ายที่เกี่ยงข้องกับการนำเข้า
10.1 การทำงานของเอกสารสำคัญที่เรียกว่า
Shipping documents
10.2 ค่าใช้จ่ายที่เรียกว่า Local
Charge โดยจะเกิดจาก 6 หน่วยงานดังต่อไปนี้
10.3 หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตอนนำของเข้า
10.4 วิธีคำนวณภาษีของกรมศุลกากร
10.5 เคลียร์ความเข้าใจกับการทำงานของ Freight Forwarder และ Shipping
10.6 พาทัวร์เว็บไซต์กรมศุลกากร รวมไปถึงวิธีเช็คพิกัด วิธีเช็คภาษี
วิธีถามตอบกับเขา
10.7 วิธีดูใบเสนอราคา Forwarder
เพื่อการคำนวณที่ถูกต้อง พร้อมดูตัวอย่างของจริง
10.8 วิธีดูใบเสนอราคา Shipping
เพื่อการคำนวณที่ถูกต้อง พร้อมดูตัวอย่างของจริง
10.9 วิธีเก็บ schedule
vessel and flight เพื่อง่ายต่อการหยิบใช้
10.10 วิธีเก็บประวัติ Forwarder
list ที่ง่ายต่อการหยิบใช้
10.11 ชุดเอกสาร Shipping
documents ที่ครบสมบูรณ์ ที่ใช้เดินพิธีการศุลกากร
และยังรวมไปถึงค่าใช้จ่ายจริงที่เป็น Local charge and Shipping charge
10.12 วิธีแจ้งงาน Shipping
ให้ไปเคลียร์ของออกกับกรมศุลฯ สายเรือ แอร์ไลน์
และรวมไปถึงเห็นของจริง การแจ้งสินค้าเข้าจาก Vessel, Forwarder และ Courier
10.13 ครูสรุปค่าใช้จ่ายจริง
ที่เกิดขึ้นกับการนำเข้าสินค้าทั้งทางเรือและทางแอร์ และบอกสูตรการคำนวนค่า Freight (ค่าขนส่งระหว่างประเทศ)
ของสายเรือและแอร์ไลน์
10.14 วิธีคำนวณค่า
Freight (ค่าขนส่งระหว่างประเทศ) ทั้งทางเรือ ทางแอร์ คูเรียร์
ทั้งนำเข้า-ส่งออก
10.15 ครูทำเปรียบเทียบราคาค่า Freight ให้ดู ระหว่าง
Courier, Airfreight, Sea freight ว่ามาทางไหนคุ้มค่ากว่ากัน
โดยเทียบน้ำหนักของไม่เกิน 100 kgs
11. รูปแบบการชำระเงินระหว่างประเทศ
11.1
ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนและวิธีป้องกัน
11.2
วิธีการชำระเงินแบบ Advance
Payment
11.3
วิธีการชำระเงินแบบ Open
Account
11.4
วิธีการชำระเงินแบบ Bills
for Collection
11.5
วิธีการชำระเงินแบบ เล็ตเตอร์ออฟเครดิต Letter of Credit L/C
11.6
การเตรียมเอกสารและการตรวจเอกสารโดยใช้ข้อบังคับของ UCP 600
เป็นตัวพิจารณา
11.7
รู้ถึงวิธีชำระเงินที่เป็นที่นิยมที่สุดของนา ๆ ประเทศ
11.8
ความเสี่ยงแต่ละวิธี การได้เปรียบเสียเปรียบในแต่ละวิธี
12. ทำความเข้าใจกับ Transfer
Pricing
13. ทำความเข้าใจกับอนุสัญญาภาษีซ้อน (DTA:
Double Tax Agreement)
14. หัวใจการซื้อระหว่างประเทศ
15. การเก็บรายงานและการประมวลผลเพื่อการนำเสนอ
15.1 Report All Import
Shipments.
15.2 Report Control Various
licenses.
15.3 Report Import
goods and Documents.
15.5 Report Import big
machine and control cost. (Shipping charge, Customs,
Transpiration and Local charge)
15.6 Report
Customs fee per Month.
15.7 Report Expense of
Import and Export.
15.8 วิธีทำรายงานที่ง่าย
รวมไปถึงการนำสูตร Excel ตัวสำคัญ ๆ มาใช้ร่วมด้วย
15.9
วิธีทำกราฟแท่ง กราฟเส้น เพื่อการนำเสนอที่เข้าตา
16. Flow Chart การทำซื้อและการนำเข้าสินค้า
16.1
โฟลว์การทำงาน การซื้อและการนำเข้าสินค้า
16.2 โฟลว์การซื้อและการนำเข้าทางเรือ พร้อมยกตัวอย่างของจริง
16.3 โฟลว์การซื้อและการนำเข้าทางแอร์ พร้อมยกตัวอย่างของจริง
16.4 โฟลว์การส่งออกสินค้าทางแอร์ พร้อมยกตัวอย่างของจริง
17. โบนัส
17.1 คำศัพท์ที่ใช้บ่อยกับงาน Import-export
เป็นคอร์สเรียนออนไลน์
เรียนผ่านเฟสบุ๊คกลุ่มลับส่วนตัว เรียนตลอดชีพ เรียนซ้ำได้เท่าที่ต้องการ
ครูลงบทเรียนเป็นคลิปวีดีโอลงไว้แต่ละบท และทำสาระบัญให้กดเข้าไปเรียนง่าย ๆ
คุณลงทุนครั้งเดียว 25,555 บาท เรียนซ้ำได้ไม่จำกัด เรียนได้ตลอดชีพ มีใบ Certificate มอบให้เมื่อเรียนจบ
สำหรับเอกสารการเรียนการสอนและรายงานต่างๆ ครูส่งให้ทาง Gmail
สมัครเรียนทัก Inbox เพจเฟสบุ๊ค จัดซื้อมือโปร by ครูธัญญ่า
หรือทักไปที่ Line : @Thanyapro
ช่องทางติดต่อครู
1.
Line ID : @thanyapro
2. เฟสบุ๊คเพจ : จัดซื้อมือโปร by ครูธัญญ่า
Main category
-
ใหม่ล่าสุดคอร์ส จัดซื้อเบื้องต้น สร้างฐานที่มั่นคง – Purchasing Base4,444.00 ฿
8,888.00 ฿ (-50%) -
แนะนำคอร์ส บริหารงานจัดซื้อขั้นสูง (Advanced Purchasing Management)18,888.00 ฿
25,555.00 ฿ (-26%) -
แนะนำคอร์ส ผู้นำ ทำทีมให้เก่ง – Leader18,888.00 ฿
25,555.00 ฿ (-26%) -
คอร์ส รายงานจัดซื้อ – Purchasing Report8,888.00 ฿
12,999.00 ฿ (-32%)